สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

แนวทางการประกอบอาชีพ : หน่วยงานทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.) นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม นักอาชีวอนามัย    ที่ปรึกษาด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน นักวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย นักวิชาการสาธารณสุข วิทยาศาสตร์สุขภาพ   อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม อาชีวเวชศาสตร์ นักวิจัย นักวิชาการแรงงาน นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการด้านการเก็บตัวอย่าง วิเคราะห์ตัวอย่างมลพิษในสถานที่ทำงาน นักวิชาการสุขาภิบาลและการสิ่งแวดล้อม  วิทยากรอิสระด้านความปลอดภัย เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ผู้ประกอบการ/พนักงานขายอุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย เป็นต้น